ครูต้องเตรียมพร้อมในสิ่ง ต่อไปนี้
1. ทำใจ : อย่าติดยึดเพียงพฤติกรรมเบี่ยงเบนของเด็กเป็นกำแพงที่ขวางกั้น ปิดเส้นทางที่ครูจะได้ออกแบบการเรียนรู้ตามหลักสูตรอย่างเหมาะสมด้วยความสามารถจริงๆ
2. เข้าใจ : ในความแตกต่างระหว่างบุคคล ว่า มนุษย์ย่อมมีความสามารถที่แตกต่างกันคนบางคนอาจจะเก่งในเรื่องนี้ แต่ไม่เก่งในเรื่องโน้น ไช่ว่าคนเราชั่วชีวิตจะไม่มีดีอะไรเลย ครูต้องค้นหาให้เจอแล้วครูจะรู้ว่า ควรจะสร้างแรงจูงใจใฝ่สัมฤทธ์ให้กับเด็กได้ด้วยวิธีอะไรได้บ้าง
3. ใส่ใจ : พูดคุย ซักถาม เล็กๆน้อยๆ เพื่อให้เด็กรู้สึกอบอุ่น เป็นกันเอง ว่าครูยังเมตตาอยู่ยังให้โอกาสอยู่ มิได้มองเขาเป็นคนไร้ค่าที่ไม่มีโอกาสลุกยืนได้อีกแล้วชั่วชีวิตนี้ คิดตามด้วยความอดทน (การดูแลเด็กมีปัญหาจะยากกว่าการดูแลเด็กปกติหลายเท่านัก)
4. ยั่วใจ : กระตุ้น ยั่วยุให้นักเรียนเกิดพลัง เมื่อเด็กท้อ ยอมแพ้ ไม่สู้ ครูต้องเติมไฟให้สู้ ให้อดทนเพื่อนักเรียนผ่านด่านแต่ละด่านไปให้ได้ และอย่าใช้วาจาเฉือนเฉือน เสียดสี ดูหมิ่น จนเด็กหนีหน้าไปเลย
ตัวอย่างการออกแบบการจัดการเรียนรู้สำหรับเด็กเรียนอ่อน/ไม่สนใจเรียน/ขาดความอดทน /อื่นๆ
1. ชิ้นงานจะต้องไม่โตจนเกินไป อย่ารวมหลายจุดประสงค์ไปไว้ก้อนเดียวกัน
2. มีใบความรู้ ตัวอย่างประกอบ มีใบงานให้เลียนแบบตัวอย่าง ไม่ซับซ้อนมากนัก
3. ให้ชิ้นงานที่เรียงลำดับจากง่ายไปยาก (หมายถึงค่อยๆพัฒนา)
4. ให้คะแนนเป็นตอนๆ เป็นขั้นตอน อย่าสรุปที่คำตอบเพียงอย่างเดียว
5. ควรบูรณาการศิลปะ และ ภาษาไทยในการออกแบบการเรียนรู้/ชิ้นงาน ด้วยกลุ่มบริหารงานวิชาการ
1. ทำใจ : อย่าติดยึดเพียงพฤติกรรมเบี่ยงเบนของเด็กเป็นกำแพงที่ขวางกั้น ปิดเส้นทางที่ครูจะได้ออกแบบการเรียนรู้ตามหลักสูตรอย่างเหมาะสมด้วยความสามารถจริงๆ
2. เข้าใจ : ในความแตกต่างระหว่างบุคคล ว่า มนุษย์ย่อมมีความสามารถที่แตกต่างกันคนบางคนอาจจะเก่งในเรื่องนี้ แต่ไม่เก่งในเรื่องโน้น ไช่ว่าคนเราชั่วชีวิตจะไม่มีดีอะไรเลย ครูต้องค้นหาให้เจอแล้วครูจะรู้ว่า ควรจะสร้างแรงจูงใจใฝ่สัมฤทธ์ให้กับเด็กได้ด้วยวิธีอะไรได้บ้าง
3. ใส่ใจ : พูดคุย ซักถาม เล็กๆน้อยๆ เพื่อให้เด็กรู้สึกอบอุ่น เป็นกันเอง ว่าครูยังเมตตาอยู่ยังให้โอกาสอยู่ มิได้มองเขาเป็นคนไร้ค่าที่ไม่มีโอกาสลุกยืนได้อีกแล้วชั่วชีวิตนี้ คิดตามด้วยความอดทน (การดูแลเด็กมีปัญหาจะยากกว่าการดูแลเด็กปกติหลายเท่านัก)
4. ยั่วใจ : กระตุ้น ยั่วยุให้นักเรียนเกิดพลัง เมื่อเด็กท้อ ยอมแพ้ ไม่สู้ ครูต้องเติมไฟให้สู้ ให้อดทนเพื่อนักเรียนผ่านด่านแต่ละด่านไปให้ได้ และอย่าใช้วาจาเฉือนเฉือน เสียดสี ดูหมิ่น จนเด็กหนีหน้าไปเลย
ตัวอย่างการออกแบบการจัดการเรียนรู้สำหรับเด็กเรียนอ่อน/ไม่สนใจเรียน/ขาดความอดทน /อื่นๆ
1. ชิ้นงานจะต้องไม่โตจนเกินไป อย่ารวมหลายจุดประสงค์ไปไว้ก้อนเดียวกัน
2. มีใบความรู้ ตัวอย่างประกอบ มีใบงานให้เลียนแบบตัวอย่าง ไม่ซับซ้อนมากนัก
3. ให้ชิ้นงานที่เรียงลำดับจากง่ายไปยาก (หมายถึงค่อยๆพัฒนา)
4. ให้คะแนนเป็นตอนๆ เป็นขั้นตอน อย่าสรุปที่คำตอบเพียงอย่างเดียว
5. ควรบูรณาการศิลปะ และ ภาษาไทยในการออกแบบการเรียนรู้/ชิ้นงาน ด้วยกลุ่มบริหารงานวิชาการ
6. เก็บตก
บรรยากาศการเรียนรู้ที่ผ่านมา แปลงค่าเป็นคะแนน แทนการสร้างชิ้นงานใหม่
7. ใช้กระบวนการวิจัยช่วยเหลือนักเรียนโดยการเชื่อมโยงระบบเรียนรู้และระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียนด้วยจะดีมาก
8. ตรวจผลงานเป็นระยะๆและแจ้งผลย้อนกลับทุกครั้ง
ตัวอย่างการจัดการเรียนรู้สำหรับเด็กเรียนอ่อน/มีปัญหาการเรียน
-บทเรียนสำเร็จรูป
-ชุดการสอน
-บันทึกการอ่าน
-การแปลความตามภาพ
-การเขียนเรียงความอย่างง่าย
-การใช้แผนที่ความ -การเรียนรู้ด้วยเกม เพลง
-การจัดการเรียนรู้แบบ คู่สัญญาเป็นต้น
ที่มาhttp://www.st2.ac.th/
7. ใช้กระบวนการวิจัยช่วยเหลือนักเรียนโดยการเชื่อมโยงระบบเรียนรู้และระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียนด้วยจะดีมาก
8. ตรวจผลงานเป็นระยะๆและแจ้งผลย้อนกลับทุกครั้ง
ตัวอย่างการจัดการเรียนรู้สำหรับเด็กเรียนอ่อน/มีปัญหาการเรียน
-บทเรียนสำเร็จรูป
-ชุดการสอน
-บันทึกการอ่าน
-การแปลความตามภาพ
-การเขียนเรียงความอย่างง่าย
-การใช้แผนที่ความ -การเรียนรู้ด้วยเกม เพลง
-การจัดการเรียนรู้แบบ คู่สัญญาเป็นต้น
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น